บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 5 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่4 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน 08.30 น. เวลาเข้าเรียน 08.30น. เวลาเลิกเรียน 12.20น.
กิจกรรมในคาบนี้
กลุ่มที่1 พรีเซนต์เรื่อง ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่มที่ 2 พรีเซนท์เรื่อง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
กลุ่มที่ 3 พรีเซนต์เรื่อง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา อายุแรกเกิด-2ปี
กลุ่มที่ 4 พรีเซ้นต์เรื่อง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา อายุ2-4ปี
กลุ่มที่ 5 พรีเซ้นต์เรื่อง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา อายุ4-6ปี
กลุ่มที่ 6 พรีเซ้นต์เรื่อง ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้
กลุ่มที่ 7 ยังไม่พร้อมพรีเซ้นต์
กลุ่มที่ 8 พรีเซ้นต์เรื่องพัฒนาการทางด้านภาษา
กลุ่มที่ 9 พรีเซ้นต์เรื่อง องค์ประกอบภาษาด้านภาษา
ความรู้ที่ได้รับ
ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน การเรียนรู้การพูดของเด็กเกิดจากการเลียนเสียงอันเนื่องจากความพึงพอใจ
ทฤษฎีการเลียนแบบ เกิดจากการมองเห็นหรือการได้ยินเสียง การเลียนแบบของเด็กเกิดจาก
ความพอใจ และความสนใจของตัวเด็กเอง ปกติช่วงความสนใจของเด็กนั้นสั้นมาก
ทฤษฎีเสริมแรง เช่น เมื่อเด็กทำความดี ก็ควรชมเชย
ทฤษฎีการรับรู้
ทฤษฎีความบังเอิญจากการเล่นเสียง
ทฤษฎีชีววิทยา
ทฤษฎีการให้รางวัลของพ่อแม่
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น
ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด
ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม
ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์ ได้แบ่งทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นใหญ่ ๆ คือ
สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทำช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
การจำแนกแยกแยะ
การสร้างความคิดรวบยอด
การสร้างกฎ
การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง
ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และ
สามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็น
นามธรรมได้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของกาเย่
มีความเชื่อว่า ลักษณะด้านสติปัญญา มีทักษะย่อย 4 ประการ
การสร้างความคิดรวบยอด
การสร้างกฎ
การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น